วันพฤหัสบดีที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Record of Learning 9
วันพุธ ที่24 ตุลาคม พ.ศ.2561
The Knowledge gained
   💙วันนี้อาจารย์เริ่มต้นด้วยการพูดเรื่องของการจัดทำโครงการ การแก้ไข้โครงการ และก็เรื่องคลิปการทดลองวิทยาศาสตร์ที่เพื่อนต้องนำเสนอ
     👉วิทยาศาสตร์เน้นเรื่องอะไร
     👉วิทยาศาสตร์ให้ความสำคัญอะไร
   💙หัวข้อใหญ่ทักษะวิทยาศาสตร์ ⇨ เทคนิคการใช้คำถาม ให้เด็กมีส่วนร่วมมีการคิดวิเคราะห์
   💙วิธีการจัด ดูจากหลักสูตรมี 4 กลุ่ม ดังนี้

  1. ตัวเด็ก
  2. สิ่งแวดล้อมรอบตัว
  3. บุคคลและสถานที่
  4. ธรรมชาติรอบตัว
   💙พัฒนาการ คือ ความสามารถของเด็กที่แสดงออก
   💙การออกแบบกิจกรรมจะต้องสอดคล้องกับเนื้อหาและวิธีการเรียนรู้
   💙การเรียนรู้ คือ เด็กมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม


1. นางสาว สุพรรษา มีอุสา
นำเสนอการทดลองเรื่อง นำ้ในแก้วเท่ากันหรือไม่


2. นางสาว วรรณภา ผังดี
นำเสนอการทดลองเรื่อง ลูกข่าง


3. นางสาว จุฬารัตน์ เปี่ยมวารี
นำเสนอการทดลองเรื่อง เครื่องชั่งนำ้หนัก

4. นางสาว พิมพ์สุดา จันทพา
นำเสนอการทดลองเรื่อง อากาศ

ประเมินอาจารย์ :ให้คำแนะนำที่ดี
ประเมินเพื่อน :บางคนมีการเตรียมงานมาดี
ประเมินตนเอง :ตั้งใจฟังอาจจะมีง่วงบ้าง


วันอาทิตย์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Record of Learning 8
วันพุธ ที่17 ตุลาคม พ.ศ.2561
The Knowledge gained
   💙วันนี้อาจารย์ให้คิดทำการทดลองที่จัดกับเด็กทั้งหมด 5 ฐาน ในเช้าวันพุธที่ 7พ.ย.61 
   💙ในการทำจะต้องเขียนโครงการขึ้นโดยมีหัวข้อดังนี้ หลักการและเหตุผล สถานที่ งบประมาณ ตารางกิจกรรม วิธีการประเมิน หน้าที่ในการทำงาน
   💙และในแต่ละกลุ่มที่เลือกกิจกรรมจะต้องเขียนหัวข้อดังนี้ วัตถุประสงค์ วัสดุ ขั้นตอน สื่อ และทุกอย่างจะต้องอิงกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์


1. ชื่อฐาน ลูกโป่งพองโต (กลุ่มของดิฉัน)
สิ่งที่ต้องแก้ไข
   👉วัตถุประสงค์
   👉ขั้นตอน

2. ชื่อฐาน ปั้มขวดและลิปเทียน


3. ชื่อฐาน ลาวาปะทุ ภูเขาไฟระเบิด ตุ้มตุ้ม


4. ชื่อฐาน Shape of Bub-Bub-Bubble


5. ชื่อฐาน หนักเอาเบาสู้

ประเมินอาจารย์ :ช่วยคิดสิ่งที่แก้ไข ให้คำแนะนำ
ประเมินเพื่อน :ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
ประเมินตนเอง :ตั้งใจคิดกิจกรรม รับฟังเพื่อนๆ


วันเสาร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Record of Learning 7
วันพุธ ที่10 ตุลาคม พ.ศ.2561
The Knowledge gained
   💙วันนี้อาจารย์เริ่มต้นการเรียนด้วยการแนะนำให้นักศึกษาหัดดูสื่อวิทยาศาสตร์เยอะๆ เพราะการทดลองวิทยาศาสตร์มีมากมายหลายการทดลงจะต้องรู้จักค้นคว้าหาความรู้ เช่น เรื่องลม อากาศ เป็นเรื่องเบสิค อากาศมีพลังงานมีแรงดัน และในการทดลองแต่ละอย่างนั้นต้องคำนึงถึงพัฒนาการ ความสามารถของเด็กแต่ละด้วย และใยการจัดนั้นจะต้งสอดคล้องกับวิธีการของเด็กแระสาทสัมผัสทั้ง5 (การเล่น)



          💙วิทยาศาสตร์ คือ ชีวิตเหมือนกระดาษ ต้นไม้→กระดาษ→การย่อยสลาย
       💙ครูไม่ควรหยุดนิ่ง ต้องไปศึกษาความรู้เพิ่มเติม (กรอบมาตราฐานวิทยาศาสตร์)
       💙แรกเกิด-6ปี เป้นการปูพื้นฐาน
             ถ้าขึ้นป.1 เริ่มมีเหตุผล


1. นางสาว ทิพยวิมล นวลอ่อน
 นำเสนอการทดลองเรื่อง ฟองสบู่


2. นางสาว เพ็ญประภา บุญมา
นำเสนอการทดลองเรื่อง ลูกโป่งพองโต


3. นางสาว จิรานันท์ ชัยชาย
นำเสนอการทดลองเรื่อง แยกพริกไทยกับเกลือ


4. นาย ปฏิภาณ จินดาดวง
นำเสนอการทดลองเรื่อง รอยต่อของภาพ


5. นางสาว อรุณวดี ศรีจันดา
นำเสนอการทดลองเรื่อง ระฆังดำน้ำ

ประเมินอาจารย์ :ให้คำแนะนำที่ดี ช่วยพูดเสริมบางช่วง
ประเมินเพื่อน :ตั้งใจนำเสนอการทดลอง
ประเมินตนเอง :ตั้งใจฟังเารทดลองของเพื่อน


วันศุกร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Record of Learning 6
วันพุธ ที่3 ตุลาคม พ.ศ.2561
The Knowledge gained
     💙วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์ ที่ได้เลือกไปคนละ 1 การทดลองจากครั้งที่แล้ว โดยอาจารย์ได้อธิบายขั้นตอนในการพูดขณะทดลองวิทยาศาสตร์ให้เด็กดู ดังนี้


  1. เราเป็นครูต้องใช้ทักษะวิทยาศาสตร์การวางของ สิ่งเล็กอยู่ข้างหน้าเพื่อให้เด็กเห็นได้ชัดเจน และถามเด็กๆว่าเห็นอะไรที่วางอยู่บนโต๊ะบ้าง ในการถามแบบนี้จะได้ประโยชน์จากความรู้เดิมของเด็ก เรียกว่าการจัดประสบการแบบ Active Learning ทำแบบนี้เพื่อให้เด็กมีส่วนร่วมในการคิด ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จะได้เรียนรู้รู้เรื่องการเข้าสังคม และการดูแลตัวเอง และจะต้องมีการตั้งสมมติฐาน
  2. เข้าสู่กระบวนการวิทยาศาสตร์ จะต้องทำให้เด็กเห็นภาพ (ทำเป็นชาจภาพทีละขั้นตอน,ขั้นตอนการทดลอง) และต้องวาดภาพให้เด็กเห็นได้ชัดเจน อาจจะให้เด็กช่วยตั้งชื่อการทดลอง




     💙และอาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละคนออกมานำเสนอการทดลองของตนเองคนละ 1 การทดลอง ดังนี้

1. นางสาว รุ่งฤดี โสดา
นำเสนอการทดลองเรื่อง ปั้มขวดและลิฟต์เทียน 
สิ่งที่ต้องแก้ไขคือ ต้องทำชาจบอกขั้นตอน และอธิบายภาพเพิ่ม


2. นางสาว ปริชดา นิราศรพจรัส 
นำเสนอการทดลองเรื่อง เมล็ดพืชเต้นระบำ 
สิ่งที่ต้องแก้ไขคือ โซดาทำปฎิกิริยากับเมล็ดถั่วเขียวได้แปปเดียว อาจจะทำให้เด็กสังเกตไม่ทันจึงควรหาอย่างอื่นที่ทำปฎิกิริยากับเมล็ดถั่วได้นานกว่าโซดา และต้องทำชาจบอกขั้นตอน และอธิบายภาพเพิ่ม


3. นางสาว วัชรา ค้าสุกร 
นำเสนอการทดลองเรื่อง แรงตึงผิวของนำ้ 
สิ่งที่ต้องแก้ไขคือ เวลาอธิบายต้องค่อยๆพูด และจะต้องทำชาจบอกขั้นตอนและอธิบายภาพเพิ่ม


4. นางสาว ปิยธิดา ประเสริฐสังข์ 
นำเสนอการทดลองเรื่อง แสง 
สิ่งที่ต้องแก้ไขคือ อุปกรณ์ต้องมีขนาดใหญ่กว่านี้ และจะต้องทำชาจบอกขั้นตอน และอธิบายภาพเพิ่ม


5. นางสาว สุดารัตน์ อาสนามิ 
นำเสนอการทดลองเรื่อง กระจกเงา 
สิ่งที่ต้องแก้ไขคือ อุปกรณ์ไม่จำเป็นต้องเป็นกระจกเพราะอาจจะอันตรายต่อเด็ก อาจะเป็นอย่างอื่นที่ปลอดภัยกว่า และจะต้องทำชาจบอกขั้นตอนและอธิบายภาพเพิ่ม


6. นางสาว กฤษณา กบขุนทด 
นำเสนอการทดลงเรื่อง ไหลแรงหรือไหลอ่อน 
สิ่งที่ต้องแก้ไขคือ ถาดรองควรใช้ถาดที่ใหญ่กว่านี้ และต้อทำชาจบอกขั้นตอนและอธิบายภาพเพิ่ม


7. นางสาว สุชัญญา บุญญบุตร 
นำเสนอการทดลองเรื่อง ดินนำ้มันสู่ยอดปราสาท 
สิ่งที่ต้องแก้ไขคือ ต้องทำชาจบอกขั้นตอน และอธิบายภาพเพิ่ม



8. นางสาว ประภัสสร แทนด้วง 
นำเสนอการทดลองเรื่อง ทำนองตัวเลข 
สิ่งที่ต้องแก้ไข ต้องทำชาจบอกขั้นตอน และอธิบายภาพเพิ่ม


9. นางสาว สุพรทิพย์ ดำขำ 
นำเสนอการทดลองเรื่อง พับและตัด 
สิ่งที่ต้องแก้ไข ต้องทำชาจบอกขั้นตอนและอธิบายภาพเพิ่ม


10. นางสาว ชนนิการณ์ วัฒนา 
นำเสนอการทดลองเรื่อง แสง สี การมองเห็น 
สิ่งที่ต้องแก้ไขคือ อุปกรณ์ไม่ครบ และจะต้องทำชาจบอกขั้นตอน และอธิบายภาพเพิ่ม

ประเมินอาจารย์ :ให้คำแนำนำดี และช่วยพูดเพิ่มเติมในการสอน
ประเมินเพื่อน :ตั้งใจฟังและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
ประเมินตนเอง :เตรียมอุปกรณ์มาพร้อม มีความพยายามในการอธิบาย และตั้งใจฟังเพื่อน